ฮอนด้า |
ซูซูกิ |
ยามาฮ่า |
ไทเกอร์ |
คาวาซากิ |
อื่นๆ |
รวม |
||
ม.ค.-ส.ค. |
คัน |
853,500 |
149,933 |
114,295 |
33,621 |
19,273 |
3,563 |
1,174,185 |
% |
73 |
13 |
10 |
3 |
1 |
- |
||
ก.ย. |
คัน |
87,570 |
18,817 |
14,541 |
3,375 |
3,323 |
1,211 |
128,837 |
% |
68 |
15 |
11 |
3 |
2 |
1 |
||
ม.ค.-ก.ย. |
คัน |
941,070 |
168,750 |
128,836 |
36,996 |
22,596 |
4,774 |
1,303,022 |
% |
72 |
13 |
10 |
3 |
2 |
- |
ปี 2547 ตลาดสองล้อถึงจุดอิ่มตัว
ตลาดรถจักรยานยนต์ในประเทศไทยในปี 2545 ข้อมูลจากกรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคมแจ้งว่า มียอดขายประมาณ 1.33 ล้านคัน มีอัตราการเติบโต 148% (ปี 2544 มียอดขาย 9 แสนคัน)
ส่วนยอดขายในช่วง 9 เดือน ของปีนี้ สามารถทำได้ 1.3 ล้านคัน เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา มีอัตราการเติบโต 141% คาดว่าเมื่อสิ้นสุดไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ จะมียอดขายประมาณ 1.72 ล้านคัน ซึ่งนับว่าสูงกว่ายอดขายสูงสุด 1.46 ล้านคัน เมื่อปี 2538
สถิติรถจักรยานยนต์ยอดนิยมประจำเดือนกันยายน 2546
นอกจากนี้ ภาวะอัตราดอกเบี้ยต่ำก็มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นตลาด ที่สำคัญผู้ผลิตแข่งขันกันพัฒนาเทคโนโลยี ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสร้างความสนใจ ก่อให้เกิดการตัดสินใจซื้อในที่สุด